กล่าวกันว่า ดนตรีเกิดขึ้นพร้อม ๆ กับมนุษยชาติ และในธรรมชาตินั้นเองที่ทำให้ดนตรีของชนชาติ ต่าง ๆกำเนิดขึ้น ดนตรีไทยก็เช่นเดียวกัน คือเกิดขึ้นพร้อม ๆ กับคนไทย และเมื่อเกิดขึ้นแล้วก็ย่อมมีพัฒนาการ มีการเสื่อม และมีการฟื้นฟูขึ้นใหม่ตามยุคสมัย ดนตรีไทยนั้นนอกจากจะเป็นศิลปะอันน่าภูมิใจอย่างหนึ่งของชนในชาติแล้ว ยังแสดงให้เห็นว่าประเทศ ไทยมีอารยธรรมอันเจริญรุ่งเรืองมีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์มาตั้งแต่ครั้งอดีตจวบจนถึงปัจจุบันอันสมควร อนุรักษ์และส่งเสริมให้มีการพัฒนาให้เจริญยิ่ง ๆ ขึ้นไป
ปัจจุบัน “ดนตรีไทย” ได้รับความสนใจจากสังคมมาก ดังจะเห็นได้ว่าหน่วยงานภาครัฐบาลเอกชน หรือ หมู่นิสิต นักศึกษา ประชาชนทั่วไปต่างก็มีการจัดงานนิทรรศการดนตรีไทย หรือการบรรเลงดนตรีไทย ในโอกาสต่างๆ แต่หนังสือที่ให้ความรู้เรื่องดนตรีไทยได้ถูกต้องตามหลักวิชาการและเป็นที่ยอมรับมีอยู่น้อย ทำให้ไม่สะดวก ในการศึกษา ค้นคว้าและอ้างอิง
ราชบัณฑิตยสถานได้มองเห็นความสำคัญนี้จึงได้ขออนุมัติแต่งตั้ง “คณะบรรณาธิการทำสารานุกรม ศัพท์ดนตรีไทย” ขึ้น และคณะรัฐมนตรีได้อนุมัติตามเสนอ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2528 คณะกรรมการชุดนี้
ด้วยผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านดนตรีไทย เช่น เครื่องดนตรประกอบ การบรรเลงวิชาการดนตรี ประเภทของเพลง ประวัติ เพลง ผู้ประพันธ์เพลง ฯลฯ เพื่อเป็นประโยชน์แก่นักเรียน นิสิต นักศึกษา นักดนตรี นักร้อง และ
ผู้สนใจ ทั่วไป
อนึ่ง การฟังการบรรเลงขอดนตรีไทยในลักษณะต่าง ๆ ได้อย่างซาบซึ้งนั้น นอกจากความ สนใจเป็น พิเศษแล้วผู้ฟังยังต้องมีความรู้พื้นฐานทางดนตรีไทยประกอบกันไปด้วย เช่น ควรต้องทราบถึง ความแตกต่าง ของวงดนตรีไทยแต่ละประเภทและเครื่องดนตรีต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบวงประเภทนั้น ๆ
ปัจจุบัน “ดนตรีไทย” ได้รับความสนใจจากสังคมมาก ดังจะเห็นได้ว่าหน่วยงานภาครัฐบาลเอกชน หรือ หมู่นิสิต นักศึกษา ประชาชนทั่วไปต่างก็มีการจัดงานนิทรรศการดนตรีไทย หรือการบรรเลงดนตรีไทย ในโอกาสต่างๆ แต่หนังสือที่ให้ความรู้เรื่องดนตรีไทยได้ถูกต้องตามหลักวิชาการและเป็นที่ยอมรับมีอยู่น้อย ทำให้ไม่สะดวก ในการศึกษา ค้นคว้าและอ้างอิง
ราชบัณฑิตยสถานได้มองเห็นความสำคัญนี้จึงได้ขออนุมัติแต่งตั้ง “คณะบรรณาธิการทำสารานุกรม ศัพท์ดนตรีไทย” ขึ้น และคณะรัฐมนตรีได้อนุมัติตามเสนอ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2528 คณะกรรมการชุดนี้
ด้วยผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านดนตรีไทย เช่น เครื่องดนตรประกอบ การบรรเลงวิชาการดนตรี ประเภทของเพลง ประวัติ เพลง ผู้ประพันธ์เพลง ฯลฯ เพื่อเป็นประโยชน์แก่นักเรียน นิสิต นักศึกษา นักดนตรี นักร้อง และ
ผู้สนใจ ทั่วไป
อนึ่ง การฟังการบรรเลงขอดนตรีไทยในลักษณะต่าง ๆ ได้อย่างซาบซึ้งนั้น นอกจากความ สนใจเป็น พิเศษแล้วผู้ฟังยังต้องมีความรู้พื้นฐานทางดนตรีไทยประกอบกันไปด้วย เช่น ควรต้องทราบถึง ความแตกต่าง ของวงดนตรีไทยแต่ละประเภทและเครื่องดนตรีต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบวงประเภทนั้น ๆ
จะเข้เป็นเครื่องดีดที่สันนิษฐานว่ามีวิวัฒนาการมา จากกระจับปี่เวลาบรรเลงต้องวางราบ ไปกับพื้น เพื่อนั่งดีดได้สะดวก ตัวจะเข้ทำด้วยไม้ท่อนขุดเป็นโพรงภายในส่วนมากทำจากไม้ขนุน ลักษณะของ จะเข้จะ แบ่งออกเป็น 2 ตอน ตอนหัวเป็นกระพุ้งใหญ่ หนาประมาณ 12 ซ.ม. กว้างประมาณ 25 ซ.ม. ยาวประมาณ 53
ซ.ม. ตอนหางเป็นรูปยาว ความยาวประมาณ 77 ซ.ม. หนาประมาณ 12 ซ.ม. กว้างประมาณ 11.5 ซ.ม. มีเท้า
5 เท้า ใช้รองตอนหัว 4 เท้าและตอนปลายหางอีก 1 เท้าโดยมีความสูงจากพื้นประมาณ8.5 ซ.ม. จะเข้มีสาย
3 สาย เป็นสายไหมหรืออาจจะใช้เอ็น 2 สายและสายลวด 1 สาย มีลูกบิดสำหรับ ผูกสายเทียบ เสียง 3 อัน
ด้านนอก 2 อัน และด้านใน 1 อัน มีนม 11 นมสำหรับรองสายเวลากดนิ้วการเทียบเสียงจะเข้สายเอกจะเทียบ ตรงกับเสียงโด สายกลางเทียบตรงกับเสียงซอล และสายลวดเทียบตรงกับเสียงโด จะเข้ มี เสียงที่ไพเราะมี เทคนิคการเล่นมาก เดิมใช้เล่นเดี่ยว ต่อมาได้เข้ามาประสมในวงเครื่องสายและวงมโหรี เพลงที่นิยมเดี่ยว
ด้วยจะเข้ ได้แก่ เพลงจีน ขิมใหญ่ เพลงลาวแพน เพลงสุดสงวนเพลงเขมรปี่แก้วทางสักวา เป็นต้น
ซ.ม. ตอนหางเป็นรูปยาว ความยาวประมาณ 77 ซ.ม. หนาประมาณ 12 ซ.ม. กว้างประมาณ 11.5 ซ.ม. มีเท้า
5 เท้า ใช้รองตอนหัว 4 เท้าและตอนปลายหางอีก 1 เท้าโดยมีความสูงจากพื้นประมาณ8.5 ซ.ม. จะเข้มีสาย
3 สาย เป็นสายไหมหรืออาจจะใช้เอ็น 2 สายและสายลวด 1 สาย มีลูกบิดสำหรับ ผูกสายเทียบ เสียง 3 อัน
ด้านนอก 2 อัน และด้านใน 1 อัน มีนม 11 นมสำหรับรองสายเวลากดนิ้วการเทียบเสียงจะเข้สายเอกจะเทียบ ตรงกับเสียงโด สายกลางเทียบตรงกับเสียงซอล และสายลวดเทียบตรงกับเสียงโด จะเข้ มี เสียงที่ไพเราะมี เทคนิคการเล่นมาก เดิมใช้เล่นเดี่ยว ต่อมาได้เข้ามาประสมในวงเครื่องสายและวงมโหรี เพลงที่นิยมเดี่ยว
ด้วยจะเข้ ได้แก่ เพลงจีน ขิมใหญ่ เพลงลาวแพน เพลงสุดสงวนเพลงเขมรปี่แก้วทางสักวา เป็นต้น
เริ่มจากท่านั่ง ท่านั่งในการปฏิบัติการดีดจะเข้นั้น ควรนั่งพับเพียบตามขนบธรรมเนียมประเพณีไทย และเพื่อความเรียบร้อย สวยงาม ควรนั่งลักษณะขาซ้ายทับขาขวา หรือจะขาขวาทับขาซ้ายก็ได้ แต่หัวเข่าจะ ต้องนั่งให้ชิดมุมจะเข้ นั่งตัวและหลังตั้งตรง มือขวาพันไม้ดีดวางบนตัวจะเข้ระหว่างกึ่งกลางโต๊ะกับนมที่ 11 ข้อศอกกางเล็กน้อย มือซ้ายวางนิ้วลงบนนมที่จะดีดโดยให้นิ้วงอคุ่มเล็กน้อย นิ้วหัวแม่มือแตะขอบข้างลำตัว
จะเข้
จะเข้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น